Flowchart (English)
SequenceThe flowchart above demonstrates a sequence of steps. The reader would start at the Start shape and follow the arrows from one rectangle to the other, finishing at the End shape. A sequence is the simplest flowcharting construction. You do each step in order.
If your charts are all sequences, then you probably don't need to draw a flowchart. You can type a simple list using your word processor. The power of a flowchart becomes evident when you include decisions and loops.
RFFlow allows you to number your shapes if you wish. Run RFFlow and click on Tools, Number Shapes, and put a check mark in Enable numbers for the entire chart. You can also choose to have a number or not in each individual shape and you can quickly renumber your chart at any time.
Decision
This structure is called a decision, "If Then.. Else" or a conditional. A question is asked in the decision shape. Depending on the answer the control follows either of two paths. In the chart above, if the temperature is going to be less than freezing (32 degrees Fahrenheit) the tomatoes should be covered. Most RFFlow stencils include the words "Yes" and "No" so you can just drag them onto your chart. "True" and "False" are also included in most of the flowcharting stencils.
Loop or Iteration
This structure allows you to repeat a task over and over. The red chart above on the left does the task and repeats doing the task until the condition is true. The green chart on the right checks the condition first and does the task while the condition is true. It is not important that you remember whether the loop is a "Do While" or "Repeat Until" loop, only that you can check the condition at the start of the loop or at the end. You can also have the conditions reversed and your loop is still a structured design loop. A slight variation of the above is the "For each...do the following" loop shown below.
รูปแบบการเขียนผังงาน(ภาษาไทย)
โครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ
ขั้นตอนการทำงานแบบลำดับ เป็นขั้นตอนวิธีการทำงานพื้นฐาน ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบลำดับได้รับการพัฒนามาจากโครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ การเขียนอธิบายการทำงานของวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ผังงาน ทำให้สามารถเห็นลำดับขั้นตอนวิธีการทำงานของการแก้ปัญหาได้ชัดเจนกว่าการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความโดยตรง แต่การนำผังงานมาพัฒนาให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์โดยตรง สำหรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกหัดการเขียนโปรแกรม อาจจะไม่สะดวก จึงต้องมีการเปลี่ยนจากผังงานให้เป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความก่อน จากนั้นจึงทำการเปลี่ยนจากการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความให้เป็นรหัสเทียม และโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำดับ
การเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความจากผังงาน สิ่งที่ต้องทำเป็นลำดับแรกคือ การแยกจำนวนของกระบวนการทำงานทั้งหมดของผังงาน การพิจารณาว่า ผังงานนั้น มีกระบวนการทำงานทั้งหมดจำนวนกี่กระบวนการ สามารถทำการพิจารณาได้จากการทำงานของกระบวนการหนึ่งกระบวนการนั้น จะมีทิศทางเข้าและทิศทางออกจากกระบวนการ มีเพียงอย่างละหนึ่งทิศทางเท่านั้น โดยทำการเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความจำนวนหนึ่งข้อความ ต่อกระบวนการหนึ่งกระบวนการ
ขั้นตอนการทำงานแบบลำดับ เป็นขั้นตอนวิธีการทำงานพื้นฐาน ขั้นตอนวิธีการทำงานแบบลำดับได้รับการพัฒนามาจากโครงสร้างผังงานการทำงานแบบลำดับ การเขียนอธิบายการทำงานของวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้ผังงาน ทำให้สามารถเห็นลำดับขั้นตอนวิธีการทำงานของการแก้ปัญหาได้ชัดเจนกว่าการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความโดยตรง แต่การนำผังงานมาพัฒนาให้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์โดยตรง สำหรับผู้ที่เริ่มต้นฝึกหัดการเขียนโปรแกรม อาจจะไม่สะดวก จึงต้องมีการเปลี่ยนจากผังงานให้เป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความก่อน จากนั้นจึงทำการเปลี่ยนจากการอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความให้เป็นรหัสเทียม และโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ตามลำดับ
การเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความจากผังงาน สิ่งที่ต้องทำเป็นลำดับแรกคือ การแยกจำนวนของกระบวนการทำงานทั้งหมดของผังงาน การพิจารณาว่า ผังงานนั้น มีกระบวนการทำงานทั้งหมดจำนวนกี่กระบวนการ สามารถทำการพิจารณาได้จากการทำงานของกระบวนการหนึ่งกระบวนการนั้น จะมีทิศทางเข้าและทิศทางออกจากกระบวนการ มีเพียงอย่างละหนึ่งทิศทางเท่านั้น โดยทำการเขียนอธิบายขั้นตอนวิธีการทำงานในลักษณะของข้อความจำนวนหนึ่งข้อความ ต่อกระบวนการหนึ่งกระบวนการ
โครงสร้างผังงานการตัดสินใจ
รูปแบบของการเขียนผังงานแบบการตดัสินใจ จะขึ้นกับ เงื่อนไข (Condition) ในการตัดสินใจว่า มีค่าความจริงเป็นจริงหรือเท็จ และโปรแกรมก็จะข้ามไปทำงานในกลุ่มของคำสั่งตามเงื่อนไขนั้นๆ รูปแบบของคำสั่งการตัดสินใจโดยทั่วไป มีดังนี้
รูปแบบที่1 ทางเลือกทางเดียว (Single Alternative IF) เป็นลักษณะของคำสั่งที่มีทางเลือกทางเดียว คือ ถ้าเงื่อนไขในการตรวจสอบเป็นจริงจึงทำคำสั่ง (Statement) หรือ กลุ่มคำสั่ง (Statement Block)แต่ถ้าเงื่อนไขการตรวจสอบเป็นเท็จก็ให้ข้ามไปทำคำสั่งถัดไป
รูปแบบที่ 2 ทางเลือกสองทาง (Double Alternative) เป็นรูปแบบที่มี
ทางเลือกสองทางเลือก ขึ้นอยู่กับค่าที่ใช้ในการตรวจสอบเงื่อนไข โดยใช้คำสั่ง ELSE เพื่อเป็นการ
แบ่งแยกเงื่อนไขของทางเลือก คือ เมื่อเงื่อนไขในการตรวจสอบมีค่าความจริงเป็นจริง ก็จะไปทา
คำสั่งหลังคำว่า THEN แล้วจึงทำคำสั่งถัดจากคำสั่ง END IF และถ้าเงื่อนไขการตรวจสอบมีค่าความ
จริงเป็นเท็จก็จะไปทำคำสั่งหลังคำว่า ELSEแล้วจึงทำคำสั่งถัดจากคำสั่ง END IF ต่อไป
รูปแบบที่3 ทางเลือกหลายทาง (Multiple Alternative) โครงสร้างควบคุมแบบ
การตัดสินใจชนิดทางเลือกหลายทางยงัสามารถแบ่งย่อยได้อีก
โครงสร้างผังงานแบบวนซ้ำ
รูปแบบการเขียนโครงสร้างการทำซ้า หรือการวนรอบนั้นสามารถใช้รูปแบบได้ 3 รูปแบบ ได้แก่
1.รูปแบบ WHILE Structure ในการเปรียบเทียบเงื่อนไขของการทำซ้าถ้า
เงื่อนไขเป็นจริงก็จะทำคำสั่งภายในลูป (Loop) ของ DOWHILE จนถึง ENDDO และวน
กลับมาเปรียบเทียบอีกครั้งเพื่อทำงานต่อไป จนกระทั่งเงื่อนไขในการเปรียบเทียบเป็นเท็จ
จึงจะข้ามไปทำคำสั่งถัดไปที่ต่อจากคำสั่ง ENDDO นั้นเอง
2. รูปแบบ REPEAT...UNTIL Structure รูปแบบนั้นจะทำคำสั่งภายในลูปก่อน
หนึ่งคร้ังแล้วทำการเปรียบเทียบค่าตวัแปรถ้าเงื่อนไขเป็นเทจ็ก็ทำคำสั่งภายในลูปใหม่แต่
ถ้าเงื่อนไขในการเปรียบเทียบหลังคำสั่ง UNTILเป็นจริงจึงจะข้ามไปทำคำสั่งถัดไป
3. รูปแบบ DO...ENDDO Structure (FOR Loop) หากทราบจำนวนที่จะวนรอบที่แน่นอน ควรจะใช้ DO Loops โดยมี Loop Index เป็นตัวควบคุมการวนรอบหากตรวจสอบจำนวนรอบจะกระทำโดยอัตโนมัติ การสิ้นสุดการวนรอบจะกระทำเมื่อเงื่อนไขเป็นเท็จ
No comments:
Post a Comment